เรื่องกล้วยไม้ที่คุณอาจไม่รู้

กล้วยไม้ เป็นดอกไม้ที่ใครเห็นใครก็รัก เพราะเป็นไม้ประดับที่มีรูปแบบหลากหลายและแตกต่างกันมากมาย ปัจจุบันพบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลกมากกว่า 796 สกุล 19,000 ชนิด และในจำนวนนี้มีถิ่นกำเนิดในเมืองไทยถึง 168 สกุล มากกว่า 1,170 ชนิด มีทั้งที่เจริญเติบโตอยู่บนดิน (terrestrial) อาศัยอยู่บนพืชอื่น (epiphytic) หรือเจริญอยู่ตามซากสิ่งมีชีวิตอื่นๆ (saprophyte) ส่วนใหญ่พบในประเทศเขตร้อน โดยประเทศไทยจัดเป็นแหล่งที่มีกล้วยไม้ป่ามากแห่งหนึ่งในโลก ในทางพฤกษศาสตร์ จัดกล้วยไม้เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว และจำแนกออกเป็นสกุลต่างๆ มากมาย ซึ่งในที่นี้ขอกล่าวเพียงบางส่วน อาทิ * สกุลรองเท้านารี (Paphiopedilum) พบกระจายพันธุ์อยู่ตามทิวเขาที่มีระดับความสูงไม่มากนัก และตามป่าผลัดใบ ส่วนใหญ่เติบโตอยู่ตามพื้นดินหรือซอกหิน บางชนิดก็เกาะอาศัยอยู่ตามต้นไม้                   * สกุลหวาย (Dendrobium) เป็นกล้วยไม้สกุลใหญ่ ค้นพบแล้วประมาณ 1,000 ชนิด จำแนกเป็นหมวดหมู่ย่อยมากกว่า 20 หมู่ เป็นสกุลที่นิยมพัฒนาพันธ์ุเพื่อการค้า * สกุลคัทลียาและสกุลใกล้เคียง (Cattleya & allied genera) ประกอบด้วยสกุลย่อย […]

นางตายน้อย

 นางตายตัวผู้ ชื่อวิทยาศาสตร์: Habenaria lindleyana Steud. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้/ไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำต้น: สั้นมาก อยู่ที่ระดับดิน มี 3-5 ใบ มีหัวใต้ดิน ใบ: รูปรีกว้าง ค่อนข้างหนาและอวบน้ำ สีเขียวเข้ม ปลายมน เรียงตัวในแนวระนาบเวียนรอบต้นที่ระดับดิน ดอก: ออกเป็นช่อตั้ง ยาว 20-40 เซนติเมตร ดอกมักเกิดค่อนไปทางปลายช่อ ลักษณะเป็นพุ่ม สีขาว  กลีบปากเรียวยาว สีขาว ที่โคนมีเดือยยาวทั้งสองข้าง ติ่งที่อยู่กลางดอกคือเส้าเกสร   ออกดอกเดือนกันยายน-ตุลาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: […]

นางอั้วน้อย

ว่านข้าวเหนียว/เอื้องข้าวตอก ชื่อวิทยาศาสตร์: Habenaria dentata (Sw.) Schltr. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้/ไม้ล้มลุก อายุหลายปี ลำต้น: มีหัวใต้ดิน ต้นเหนือดินสูง 10-20 เซนติเมตร ใบ: รูปรี ปลายมนหรือแหลม ดอก: ออกเป็นช่อตั้ง ยาว 12-20 เซนติเมตร ดอกมักเกิดค่อนไปทางปลายช่อ ช่อดอกค่อนข้างแน่น กลีบดอกสีขาว กลีบปากเป็น 3 แฉก แฉกกลางเป็นแถบแคบเรียว สองแฉกข้างแผ่เป็นแผ่นกว้าง ขอบเป็นครุย บางครั้งก็ลดรูปเป็นติ่งเล็กๆ ออกดอกเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: […]

เสือดาว

ชื่อวิทยาศาสตร์: Gastrochilus bigibbus (Rchb.f.ex Hook.f.) Kze. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: สั้น ใบซ้อนกันถี่ ใบ: มี 5-7 ใบ ปลายหยักเกือบเท่ากัน   ดอก: ออกเป็นพวงสั้น  กระจุกแน่นที่ซอกใบ 5-10 ดอก กลีบสีเหลืองอมน้ำตาลอ่อน มีจุดสีม่วงแดงกระจาย โคนกลีบปากเป็นกระพุ้งคล้ายกระบวย ปลายผายออกเป็นแผ่นกว้าง ขอบจักเป็นครุยสีขาว มีปื้นสีเหลืองและจุดสีม่วงแดงตรงกลาง ดอกบานนานหลายวัน  ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-พฤศจิกายน ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: ในธรรมชาติพบขึ้นในป่าดิบหรือป่าดิบเขา

เอื้องข้าวสาร

ชื่อวิทยาศาสตร์: Liparis Viridiflora (Blume) Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นลำยาว อวบน้ำ ขึ้นรวมเป็นกอแน่น ใบ: รูปแถบแคบยาว แผ่นใบบางและอ่อน ดอก: ออกเป็นช่อค่อนข้างแน่นที่ยอด ต้นละ 1-3 ช่อ ช่อดอกยาว 15-20 เซนติเมตร ดอกสีครีมหรือสีขาวอมเขียวอ่อน ขนาดเล็ก ทยอยบานเป็นเวลานาน ออกดอกเดือนมกราคม-พฤษภาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: สามารถขึ้นบนหินหรือบนพื้นดินได้

เอื้องบายศรี

เอื้องคำหิน ชื่อวิทยาศาสตร์: Eria Lasiopetala (Willd.) Ormerod ชื่อพ้อง : Eria pubescens (Hook.) Steud., Eria albidotomentosa (Blume) Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นหัวรูปกลมรี หรืออ้วนป้อม มักมีกาบใบหุ้ม เรียงตัวบนเหง้าห่างกัน 2-10 เซนติเมตร ใบ: รูปขอบขนานแกมรี  มี 3-5 ใบ แผ่นใบหนา  ดอก: ออกเป็นช่อตั้ง 5-10 ดอก เกิดตามข้อใกล้ยอด กลีบดอกสีเหลือง ผายออกเล็กน้อย ปลายกลีบปากแผ่เป็นแผ่นยาวและงอนออก สีเหลือง มีแถบสีม่วงตามยาว ก้านและแกนช่อมีขนสีขาว  ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก […]

เอื้องกระเจี้ยง

เอื้องศรีเที่ยง ชื่อวิทยาศาสตร์: Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นหัวรูปรี มักมีกาบบางแต่แข็งติดที่โคน เรียงตัวบนเหง้าห่างกัน 5-10 เซนติเมตร ทอดตัวแผ่ไปหลายทิศทาง ใบ: รูปรี มี 2 ใบ ดอก: เดี่ยว กลีบดอกยาวแคบ แรกบานสีเหลืองอมน้ำตาล มีจุดหรือขีดสีน้ำตาลแดงหนาแน่น สีกลีบดอกจะเข้มเป็นสีน้ำตาลแดงในวันถัดไป กลีบปากกว้าง ปลายแผ่เป็นแผ่น สีน้ำตาลแดงเข้ม หูกลีบปากกว้าง กลางโคนมีสันแคบตามยาว ดอกบานนาน มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนตุลาคม-มกราคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ […]

เอื้องไม้ตึง

เอื้องเค้ากิ่ว/ตีนนก ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium tortile  Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นลำยาวรี โคนเรียวเล็กคล้ายก้าน กลางต้นป่องพองปละปลายสอบ ผิวแห้งเป็นร่อง ขึ้นชิดกันเป็นกอ ใบ:รูปขอบขนานแกมรี เรียงสลับเกือบตลอดต้น ปลายใบหยักเว้าตื้น แผ่นใบบาง แต่เหนียว ทิ้งใบเมื่อต้นแก่   ดอก: ออกเป็นช่อสั้น 3-6 ดอกตามข้อจากช่วงกลางต้นขึ้นไป กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีลักษณะคล้ายกัน สีม่วง ขอบเป็นคลื่นและบิดพลิ้ว โคนกลีบปากห่อม้วนเป็นหลอดยาว สีม่วงช่วงปลายสีเหลือง กลีบปากมีขน ดอกบานน่ากว่าหนึ่งสัปดาห์ ออกดอกเดือกุมภาพันธ์-เมษายน ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: ลักษณะคล้ายเอื้องตีนเป็ด […]

เอื้องแซะหลวง

เอื้องแซะ เอื้องแซะหอม ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium scabrilingue  Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: รูปรี สูง 10-20 เซนติเมตร ข้อคอดเล็กน้อย ผิวต้นเป็นร่องตื้นๆ ตามยาว และมีขนสั้นละเอียดสีดำ ต้นค่อนข้างแข็ง ขึ้นเป็นกลุ่มเล็กๆ ใบ: มี 3-4 ใบใกล้ยอด รูปรี ปลายหยักเว้าไม่เท่ากัน แผ่นใบหนาและเหนียว   ดอก: ออกเป็นช่อสั้น 1-2 ดอกตามข้อใกล้ยอด กลีบดอกสีขาวอมเขียวอ่อนเป็นมัน โคนกลีบปากกระดกตั้งขึ้นทั้งสองข้าง ปลายแผ่เป็นแผ่นยาว เมื่อแรกบานสีเขียวอมเหลือง สีจะเข้มขึ้นในวันถัดไปจนเป็นสีเหลืองเข้มหรือเหลืองอมส้ม ดอกบานนานเป็นเดือน กลิ่นหอมมาก ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์ ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง […]

เอื้องตาเหิน

ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium infundibulum Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นลำผอม ยาว 25-40 เซนติเมตร ผิวเป็นสันและร่องตื้นๆ ตามยาว ต้นอ่อนมีขนสั้นละเอียดสีดำ ขึ้นเป็นกอ ใบ: รูปรีแกมขอบขนาน  แผ่นใบบาง แต่เหนียว ต้นแก่ทิ้งใบ ดอก: เกิดใกล้ยอด ช่อละ 1-3 ดอก ดอกสีขาว กลีบดอกใหญ่เกือบกลม ขอบย้วยเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบปาก ปลายหยักเว้าลึก ขอบย้วยเป็นคลื่น กลางกลีบปากมีสีเหลืองสด ทยายบานนานเป็นเดือน ออกดอกเดือนสิงหาคม-มิถุนายน ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ […]

พวงหยก

หวายปม/เอื้องข้อ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium findlayanum Par. & Rchb.f. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นปม คล้ายรูปหัวใจ แต่แบนเล็กน้อย สีเขียวค่อนข้างใส  เป็นมัน เรียงต่อกันเป็นสาย ยาว 20-40 เซนติเมตร ใบ: รูปรี แผ่นใบบาง มักร่วงหมดเมื่อเจริญเต็มที่      ดอก: ออกเป็นช่อสั้นๆ 2-3 ดอก ที่ปลายต้นที่ทิ้งใบ  กลีบดอกใหญ่ สีขาว  ปลายสีม่วงเล็กน้อย  กลีบปากเกือบกลม ขอบม้วนลงเล็กน้อย  โคนกระดกม้วนเป็นหลอด สีขาวหรือสีขาวอมม่วงอ่อน มีปื้นสีเหลืองที่กลางกลีบปาก ออกดอกเดือนมกราคม-มีนาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: […]

เอื้องเมี่ยง

เอื้องกิ่งดำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium gratiosissimum Rchb.f. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นลำผอม ทอดเอนหรือห้อยลง โคนสอบเรียว ปล้องใต้ข้อป่องออกเล็กน้อย ผิวเรียบหรือเป็นร่องตามยาว สีเขียวอมม่วงหรือม่วงคล้ำเกือบดำ ใบ: รูปไข่แกมใบหอก แผ่นใบบางและร่วงไปเมื่อต้นเจริญเต็มที่     ดอก: ออกเป็นช่อสั้นๆ 1-3 ดอกตามข้อต้นที่ทิ้งใบ  กลีบดอกสีขาวอมม่วงอ่อนๆ ปลายสีชมพูอมม่วง กลีบผายออก โคนกลีบปากกระดกตั้งขึ้น ปลายแผ่ออกเป็นแผ่นเกือบกลม ปลายแหลม มีสีเหลืองที่กลางกลีบปาก ปลายสุดสีชมพูอมม่วง มีขนสั้นละเอียดหนาแน่น ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: พบในธรรมชาติน้อยมาก

เอื้องคำปอน

เอื้องคำป่า/เอื้องเดือน ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium dixanthum Rchb.f. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นลำตรงผอม ผิวเรียบ สีเหลืองคล้ายเทียนไข ขึ้นเป็นกลุ่มหรือกระจุก ใบ: เป็นแถบบางและแคบ ทิ้งใบก่อนมีดอก    ดอก: ออกเป็นช่อสั้นๆ 2-5 ดอกตามข้อต้น กลีบค่อนข้างบาง สีเหลือง ผายออก โคนกลีบปากกระดกตั้งขึ้น มีเส้นสีแดงตามยาวเป็นระยะ  ปลายแผ่ออกเป็นแผ่นบาง ค่อนข้างกลม ขอบจักฟันเลื่อยละเอียด มีขนสั้นละเอียดปกคลุม  ดอกบานนานหนึ่งสัปดาห์  กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: –

หวายตะมอย

นกกระยาง/แส้พระอินทร์/เอื้องมะลิ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium crumenatum  Sw. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: เป็นลำที่มีโคนโป่งพองคล้ายหัว รูปรี เหนือขึ้นไปเรียวผอมเป็นเส้นกลมแข็ง และอาจแตกแขนงได้ ต้นขึ้นเป็นกลุ่มทอดเอนหรือห้อยลง ใบ: เกิดที่ลำต้นช่วงบน เรียงเป็นระยะ และลดรูปในช่วงหลาย รูปใบยาวรี แผ่นใบบางแต่เหนียว ปลายแหลมมน   ดอก: ออกเป็นช่อ 1-2 ดอก ตามข้อต้นที่ไม่มีใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกลักษณะคล้ายกัน สีขาว ผายออก โคนกลีบปากเชื่อมติดกัน หูกลีบปากกระดกตั้งขึ้นทั้งสองข้าง ปลายแผ่ออก กลางกลีบมีสีเหลือง ดอกบานวันเดียว กลิ่นหอมฉุน ออกดอกไม่แน่นอน ส่วนใหญ่เป็นช่วงฤดูร้อนแล้วมีฝนตก หรือช่วงฤดูฝน ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: […]

เอื้องแซะหม่น

เอื้องแซะภู/เอื้องแซะดอยปุย ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium bellatulum  Rolfe วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: ป้อมคล้ายกระสวยหรือเหือบหลมหรือรูปรี สูงไม่เกิน 6 เซนติเมตร ตามต้นมีขนละเอียดสีดำ ต้นเรียงชิดกันเป็นกระจุก ใบ: รูปรี ปลายแหลม ใบเหนียวคล้ายหนัง สีเขียวอมเทา ดอก: ออกเป็นช่อ 1-3 ดอก กลีบสีขาว ผายออก โคนกลีบปากกระดกตั้งขึ้นทั้งสองข้าง สีแดงอมส้ม ปลายแผ่เป็นแผ่นกว้าง ขอบย้วยเป็นคลื่น สีส้มอมเหลือง ปลายเว้าตื้นเป็น 2 แฉก กลางกลีบปากนูนเป็นสันตามยาว ดอกบานนานกว่าหนึ่งสัปดาห์ กลิ่นหอมอ่อน ออกดอกเดือนมกราคม-เมษายน ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร […]

กล้วยไม้มือนาง

เขาแพะ ชื่อวิทยาศาสตร์: Dendrobium acerosum Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: ผอมเล็ก โคนต้นชิดกันเป็นกระจุก ปลายเอนไปหลายทิศทาง ช่วงปลายต้นลดรูปเป็นแผ่นเยื่อบางๆ ที่ข้อ ใบ: เป็นเส้นเกือบกลม อวบน้ำ ปลายสอบแหลมโค้งเล็กน้อย เรียงสลับซ้ายขวา  ดอก: เดี่ยว เกิดตามข้อช่วงปลายต้นที่ไม่มีใบ กลีบดอกสีขาวห่องุ้มเข้าหากันเป็นรูปกรวย ปลายผายออก ดอกมักบานพร้อมกันทั้งกอ  ออกดอกปีละ 2-3 ครั้งในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ตุลาคม และธันวาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การใช้งานและอื่นๆ: ปลูกเป็นไม้แขวนประดับสวนหรือบ้านเรือนได้

กะเรกะร่อนอินทนนท์

 เอื้องกำเบ้อ/เอื้องช้าง/เอื้องชาด/เอื้องฮ่องฟู/ผีเสื้อ ชื่อวิทยาศาสตร์: Cymbidium tracyanum O’ Brien วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: ขึ้นเป็นกอ ต้นยาวประมาณ 10 เศนติเมตร ใบ: รูปแถบ อวบน้ำ แต่เหนียวคล้ายหนัง   ดอก: ออกดอกเป็นช่อยาวได้ถึง 1 เมตร ช่อดอกทอดเอนหรือโค้งลง ดอกมักออกค่อนไปทางปลายช่อ 10-30 ดอก กลีบดอกแคบยาว พลิ้วเป็นคลื่น สีเขียว มีจุดสีม่วงอมน้ำตาลเป็นเส้นตามยาว หูกลีบปากกระดกตั้งขึ้นทั้งสองข้าง สีม่วงแดง กลีบปากแผ่เป็นแผ่นยาว ปลายแหลม ขอบหยักเป็นคลื่น สีเหลือง มีขีดหรือจุดสีม่วงอมน้ำตาลและมีขนยาว ทยอยบานเป็นเวลานาน ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง […]

กะเรกะร่อนปากเป็ด

ชื่อวิทยาศาสตร์: Cymbidium finlaysonianum Lindl. วงศ์: Orchidaceae ประเภท: กล้วยไม้อิงอาศัย ลำต้น: ขึ้นเป็นกอแน่น พบมากตามต้นตาลในท้องนา ต้นสั้นมีใบหุ้ม ใบ: เป็นแถบยาวหนาและแข็ง โคนใบซ้อนแน่น มีกระจุกรากจำนวนมาก     ดอก: ออกดอกเป็นช่อห้อย เก่า ยาว 20-60 เซนติเมตร ช่อดอกโปร่ง กลีบดอกรูปแถบแคบยาว สีเหลืองอมน้ำตาลเรื่อๆ  หูกลีบปากกระดกตั้งขึ้นทั้งสองข้าง สีม่วงแดง กลีบปากสีขาว ปลายมีแถบรูปคล้ายเกือกม้า สีม่วงแดง มีสันนูนตามยาว 2 แนว ทยอยบานเป็นเวลานาน ออกดอกเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ดิน: วัสดุที่เก็บความชื้นได้ดี โปร่ง ระบายน้ำและอากาศดี เช่น ถ่านทุบ อิฐมอญทุบ กาบมะพร้าว รากเฟินชายผ้าสีดา เศษกระถางแตก หินภูเขาไฟ เป็นต้น น้ำ: ปานกลาง แสงแดด: รำไร หรือได้รับแสงในช่วงเช้า ขยายพันธุ์: แยกกอหรือเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ […]